Labels

กิ่งแก้ว (1) โกดัง (3) คลองเตย (1) คลองสามวา (3) คอนโด (18) คันนายาว (1) จรัญสนิทวงศ์13 (2) ชลบุรี (1) เช่า (1) ดินแดง (1) ตลิ่งชัน (1) ต่างจังหวัด (3) ติวานนท์ (1) ตึกแถว อาคารพาณิชย์ (9) ทวีวัฒนา (2) ทองหล่อ (1) ทาวน์เฮ้าส์ (18) ทาวน์โฮม (6) ที่ดิน (6) ทุ่งครุ (2) เทพารักษ์ (1) นวมินทร์ (3) บรมราชชนนี (5) บางกอกน้อย (1) บางกะปิ (8) บางขุนเทียน (2) บางเขน (3) บางซื่อ (4) บางนา (2) บางบอน (1) บางแวก (1) บ้านเดี่ยว (29) บ้านแฝด (1) ปทุมธานี (7) ประชาอุทิศ (2) ประเวศ (3) ปากเกร็ด (1) พระโขนง (1) พระรามสอง (3) พุทธมณฑล (2) เพชรเกษม (1) แพรกษา (1) มีนบุรี (3) รังสิต (4) รัชดา (2) ราชเทวี (1) ราชบุรี (1) รามคำแหง (8) รามคำแหง2 (1) รามอินทรา (4) โรงงาน (2) ลาดกระบัง (1) ลาดพร้าว (8) ลำลูกกา (2) วังทองหลาง (3) วัชรพล (3) สมุทรปราการ (3) สวนกล้วย (1) สวนหลวง (1) สะพานสูง (4) สะพานใหม่ (1) สายไหม (1) สุขุมวิท (7) แสมดำ (2) หทัยราษฎร์ (4) ห้วยขวาง (2) หอพัก (2) อ่อนนุช (8) ออฟฟิต สำนักงาน (1) เอกสาร (2)
23 May 2013

กู้เงินซื้อบ้าน มีขั้นตอนอย่างไรบ้าง

         การขอกู้เงินกับสถาบันการเงินเริ่มจากติดต่อกับฝ่ายสินเชื่อบ้าน หรือสินเชื่อเคหะของธนาคาร เพื่อแสดงความจำนงขอกู้ พร้อมทั้งนำหลักฐานยื่นประกอบการขอกู้โดยครบถ้วน ซึ่งหากในวันยื่นกู้เอกสารหลักฐานยื่นประกอบการขอกู้โดยครบถ้วน ซึ่งหากในวันยื่นเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ไม่ครบจะทำให้ผู้กู้ต้องนำเอกสารมาให้หรือมายื่นกู้ใหม่ในภายหลังและอาจทำให้การวิเคราะห์อนุมัติล่าช้าออกไป หลังจากยื่นกู้แล้วจะต้องชำระค่าธรรมเนียมในการประเมินราคาหลักประกัน


            เมื่อยื่นกู้แล้ว ธนาคารหรือสถาบันการเงินจส่งเจ้าหน้าที่สำรวจและประเมินราคาบ้านและที่ดินที่จะนำมาจำนองเป็นหลักประกันโดยทั้วไปใช้แวลาประมาณ 2-7 วัน ขึ้นอยู่กับแต่ละธนาคารและสถาบันการเงิน

            ธนาคารและสถาบันการเงินจะพิจารณาคำขอกู้โดยจะทำการวิเคราะห์รายได้ ฐานะทางการเงิน ความสามารถในการผ่อนชำระ และหลักประกันของผู้กู้รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ และจะแจ้งผลการขอกู้ให้ผู้กู้ทราบ โดยปกติทั่วไปใช้เวลาประมาณ 1-3 สัปดาห์ขึ้นอยู่กับแต่ละธนาคารและสถาบันการเงิน
            เมื่อได้รับอนุมัติกู้แล้ว ผู้กู้จะต้องติดต่อเจ้าหน้าที่เพื่อมาลงนามในสัญญากู้เงินและสัญญาจำนอง พร้อมทั้งนัดวันไปทำนิติกรรมจำนองที่สำนักงานที่ดิน
            ในวันโอนกรรมสิทธิ์และจดจำนองที่สำนักงานที่ดิน ผู้กู้ ผู้ขาย และเจ้าหน้าที่ของสถาบันการเงินจะไปพร้อมกันที่สำนักงานที่ดินที่หลักทรัพย์ดั้งอยู่ ทั้งนี้ผู้กู้จะต้องเตรียมเงินเป็นค่าจดทะเบียนจำนองตามปกติร้อยละ 1 ของวงเงินกู้และจะต้องชำระค่าธรรมเนียมในการโอนกรรมสิมธิ์ตามปกติร้อยละ 2 ของราคาประเมินของกรมที่ดิน ซึ้งโดยทั่วไปผู้ขายมักจะเป็นผู้จ่ายเว้นแต่จะตกลงกันเป็นอย่างอื่น
            เมื่อทุกขั้นตอนเรียบร้อยเจ้าหน้าที่จะจ่ายเงินกู้ให้ผู้กู้เป็นแคชเชียร์เช็ค เพื่อให้ผู้กู้จ่ายเงินคงเหลือให้กับเจ้าของโครงการ หรือผู้ขาย   ต่อไปเมื่อผู้กู้ได้รับเงินกู้แล้ว ผู้กู้ก็จะต้องมีภาระในการผ่อนชำระงวดทุกเดือนภายในเวลาที่กำหนดตามสัญญา


 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ กับการขอสินเขื่อ

1.ค่าธรรมเนียมในการยื่นขอสินเชื่อ
2.ค่าประเมินมูลค่าหลักประกัน
3.ค่าธรรมเนียมจำนองของสำนักงานที่ดิน
4.ค่าประกันอัคคีภัย
5.ค่าอากรแสตมป
6.ค่าธรรมเนียมการไถ่ถอนจำนองก่อนกำหนด


ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการโอน

มาตราการอสังหามีออกมาเพื่อกระตุ้นให้เกิดการซื้อ-ขายอสังหาริมทรัพย์ รายละเอียดดังนี้

    ค่าธรรมเนียมโอน 2% 
    ค่าจดจำนอง 1% 
    ค่าภาษีธุรกิจเฉพาะ 3%


เช่นบ้านราคา 1 ล้านบาท ถือครองมา 1 ปี แม้โอนไปเมื่อกลางปีที่แล้ว แต่ปัจจุบันไม่ถึง 1 ปีก็ถือว่า 1 ปี บ้าน 1 ล้านบาท ถือครอง 1 ปี ได้ลด 97% เหลือ 30,000 คิดภาษีรายได้ 3% จาก 30,000บาท เท่ากับภาษีหัก ณ ที่จ่าย 900 บาท

ขอบคุณที่มา www.paul-esther.com

.

Popular Posts

เรื่องโปรด

[app แนะนำ] มารู้จัก appมือถือแจ่มๆ แอนดรอยด์ ios แจ่มว้าว

Find Us On Facebook